คณะ ใน ม ราม

คณะกรรมการประจำภาควิชาฯ 1. 1 อาจารย์ ดร. อิทธิพล เตชะเกรียงไกร 1. 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฬาภรณ์ เลิศบวรวงศ์ 1. 3 รองศาสตราจารย์รสิตา โอสถานนท์ 1. 4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เบญจา ชุตินทราศรี 1. 5 อาจารย์รัชดา สาดตระกูลวัฒนา 1. 6 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิธู ชูศรี 1. 7 อาจารย์รัษวรรณ อภิลักขิตกาล 1. 8 อาจารย์ ดร. พันธุ์เลิศ พรหมสาขา ณ สกลนคร 1. 9 อาจารย์ ดร. พรทิพย์ วิริยะวัฒนา 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 2. 1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฬาภรณ์ เลิศบวรวงศ์ 2. 2 อาจารย์รัชดา สาดตระกูลวัฒนา 2. 3 อาจารย์ ดร. อิทธิพล เตชะเกรียงไกร 2. 4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิธู ชูศรี 2. 5 อาจารย์รัษวรรณ อภิลักขิตกาล ทำเนียบหัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร ลำดับ รายชื่อหัวหน้าภาควิชา ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง 1 รศ. สุพจน์ ใช้เทียมวงศ์ (ผู้ประสานงานสาขาวิชา) พ. 2533 - พ. 2536 2 รศ. อรพิน ชัยประสพ 13 ตุลาคม พ. 2536 – 31 ธันวาคม พ. 2537 3 ผศ. เกสรี จุ้ยชุม 1 มกราคม พ. 2538 – 30 พฤศจิกายน พ. 2538 4 ผศ. พรทิพย์ สุมนพันธุ์ 1 ธันวาคม พ. 2538 – 31 ธันวาคม พ. 2539 5 อ. ดร. ปาริชาติ บุญพิคำ 1 มกราคม พ. 2540 – 31 มกราคม พ. 2541 ุ6 ผศ.

  1. หลักสูตรปริญญาตรี – คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  2. ปริญญาตรี / ปริญญาโท / ประกาศนียบัตรบัณฑิต / ปริญญาเอก : College / Faculty / Institute
  3. ภาควิชาการตลาด
  4. ประวัติและความเป็นมา
  5. ข้อมูลการรับสมัคร รามคำแหง

หลักสูตรปริญญาตรี – คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง

2) กลุ่มวิชาภาษาไทย 3 หน่วยกิต THA 1003 การเตรียมเพื่อการพูดและการเขียน 3(3-0-6) Preparation for speech and writing (1. 4) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต INT 1004 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3(3-0-6) Introduction to Computer for Business MTH 1003 คณิตศาสตร์พื้นฐาน 3(3-0-6) Basic Mathematics (2) หมวดวิชาเฉพาะ 93 หน่วยกิต ได้แก่ (2.

คณะศึกษาศาสตร์เป็น 4 คณะแรกที่ได้จัดตั้งขึ้นพร้อมกับมหาวิทยาลัยรามคำแหง ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยรามคำแหง พ. ศ. 2514 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ. 2514 อาคารที่ทำการชั่วคราวของคณะศึกษาศาสตร์ ในครั้งแรกนั้นเป็นตึกรูปทรงกลม ซึ่งจัดสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นงานแสดงสินค้านานาชาติ มี รศ. ดร. อภิรมย์ ณ นคร เป็นคณบดี คนแรก ต่อมาในปี พ. 2516 คณะศึกษาศาสตร์ได้ย้ายที่ทำการชั่วคราวไปอยู่ที่อาคารศรีชุม (ปัจจุบันได้ทำการสร้างใหม่โดยใช้ชื่อว่าอาคารเรียนรวมและปฏิบัติการ) จนกระทั่ง ปี พ. 2518 จึงมีที่ทำการถาวรที่อาคารคณะศึกษาศาสตร์ เป็นอาคาร 5 ชั้น ในปัจจุบันและได้ดำเนินการจัดสร้างอาคารที่ทำการคณะอีกหลังหนึ่งมีชื่อเรียกว่า อาคารนครชุม คณะศึกษาศาสตร์ ผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาตรี ดำเนินการเปิดสอน 3 สาขาวิชา คือ ศึกษาศาสตร์ จิตวิทยา ภูมิศาสตร์ ในปี พ. 2514 คณะศึกษาศาสตร์ได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยรามคำแหงให้จัดตั้งโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง โดยเปิดรับนักเรียนตั้งแต่ปีการศึกษา 2516 เป็นต้นมา ในปี พ. 2529 ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง เพื่อเป็นสถานปฏิบัติการทางด้านการศึกษาและฝึกอบรมวิชาการแก่เยาวชน ให้มีการพัฒนาการทางด้านสติปัญญา ร่างกาย อารมณ์ สังคมและศีลธรรม อันจะเป็นประโยชน์แก่ตนเองและสังคม โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหงเปิดสอนในลักษณะสหศึกษา รับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปัจจุบันเปิดสอนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในปี พ.

ปริญญาตรี / ปริญญาโท / ประกาศนียบัตรบัณฑิต / ปริญญาเอก : College / Faculty / Institute

Pre-degree คืออะไร? พรีดีกรี คืออะไร? พรีดีกรีเป็นการเรียนเพื่อสะสมหน่วยกิตในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยรามคำแหงล่วงหน้า โดยอนุญาตให้ผู้ที่มีวุฒิการศึกษาระดับม. ต้น(วุฒิ จบ ม. 3 หรือ กศน. จบ ม. 3) เป็นต้นไปมาสมัครเป็นนักศึกษาระดับพรีดีกรีได้ โดยเลือกลงทะเบียนเรียนวิชาใดๆก็ได้ของคณะที่สนใจได้เลย พรีดีกรี เหมาะกับใคร? พรีดีกรีเหมาะอย่างยิ่งสำหรับน้องๆที่กำลังเรียนอยู่ ม. ปลาย (หรือเทียบเท่า) รวมถึงน้องๆ ปวช. ที่ต้องการสะสมหน่วยกิตของมหาวิทยาลัย เพื่อจะได้จบปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยรามคำแหงได้เร็วขึ้น (ถ้ามีวุฒิ ม. 6 อยู่แล้ว สมัครเป็นนักศึกษาภาคปกติได้เลย) ระบบการเรียนแบบพรีดีกรี และ ภาคปกติ ต่างกันอย่างไร? การเรียนระบบพรีดีกรี กับ การเรียนในภาคปกติ เหมือนกันเกือบทุกประการ คือ นักศึกษาพรีดีกรีเลือกสะสมหน่วยกิตได้ทุกสาขาวิชา เรียนเหมือนกัน เรียนและสอบห้องเดียวกับนักศึกษาภาคปกติ และต้องดูแลตัวเอง ลงทะเบียนเรียนเอง ใช้ปฏิทินการศึกษาเดียวกันกับนักศึกษาภาคปกติ แต่ค่าใช้จ่ายต่างกัน นักศึกษาภาคปกติ ค่าหน่วยกิตละ 25 บาท, นักศึกษาพรีดีกรี หน่วยกิตละ 50 บาท เรียนพรีดีกรีจะได้รับปริญญาไหม? การเรียนระบบพรีดีกรีไม่สามารถจบการศึกษาระดับปริญญาตรีได้ เนื่องจากระบบพรีดีกรีเป็นการสะสมหน่วยกิตเท่านั้น แต่หน่วยกิตที่สะสมไว้จะปูทางไปสู่การจบปริญญาตรีได้เร็วขึ้น!

MKT….. MKT…… ………. วิชาเลือกเสรี …………. 12 12

ภาควิชาการตลาด

อธิบายก่อนว่าเจ้าของกระทู้เรียนจบปริญญาตรีแล้วค่ะ แต่เป็นด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาเลย อยากจะทำงานด้านศิลปะบำบัด คิดว่าจิตวิทยาจะตรงสายมากกว่า เลยอยากจะเรียนปริญญาตรีจิตวิทยาควบกับทำงานประจำตอนนี้ไปด้วย ขอถามคนที่เรียนค่ะ 1. คณะที่เปิดสอน คือคณะศึกษาศาสตร์ เอกจิตวิทยา สาขาจิตวิทยาการปรึกษา ใช่ไหมคะ คนที่เรียนช่วยแชร์ประสบการณ์การเรียน หรือเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับการเรียนให้ฟัง(อ่าน) ประกอบการตัดสินใจหน่อยได้ไหมคะ แบบคร่าวๆก็ได้ เรียนอะไร หนักแค่ไหน ฯลฯ 2. การเทียบโอนหน่วยกิต สามารถทำได้มั้ยคะสำหรับคนที่เคยเรียนจบตรีมาแล้ว และแบบไหนดีกว่ากันระหว่าง - สมัครพร้อมกับเทียบโอนไปเลย - สมัครเรียนก่อนตามปกติ แล้วค่อยมาติดต่อเทียบโอนทีหลัง 3. คนที่จบไปแล้วทำงานด้านการบำบัด แชร์ประสบการณ์หน่อยได้ไหมคะ 4. มหาวิทยาลัยอื่นที่เปิดสอนสาขานี้ และเป็นมหาวิทยาลัยเปิด มีที่ไหนอีกบ้างคะ ขอบคุณล่ววงหน้าค่ะ ตอนนี้กำลังเก็บข้อมูลไปเรื่อยๆ ถ้านึกออกจะมาเพิ่มอีกค่ะ แสดงความคิดเห็น

(อ่านกรณีสมมติจะเข้าใจได้มากขึ้น) กรณีสมมติ น้อง A สมัครเป็นนักศึกษาพรีดีกรีด้วยวุฒิ ม. 3 และกำลังเรียน ม. ปลายอยู่ด้วย หลังจากสมัครเรียนแล้วเวลาผ่านไป 3 ปี ปรากฎว่าน้อง A สะสมหน่วยกิตรามคำแหงได้ 100 หน่วยกิตจนเกือบครบตามหลักสูตรปริญญาตรีแล้ว(วงกลมสีเขียว) และถ้าสะสมอีกไม่กี่หน่วยกิต น้อง A ก็จะเรียนครบหลักสูตรทันที แต่ก็จะถือว่าน้อง A ไม่ได้จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ถ้าไม่นำวุฒิ จบ ม. 6 มาสมัครเป็นนักศึกษาภาคปกติอีกครั้ง ถ้าต้องการจบการศึกษาและรับพระราชทานปริญญาบัตร น้อง A ต้องลาออกจาการเป็นนักศึกษาพรีดีกรี และมัครเป็นนักศึกษาภาคปกติด้วยวุฒิฯ ม.

ประวัติและความเป็นมา

  1. ชุดปรับเบาะนั่งมิกกี้เมาส์ ให้ชิดติดกันเพื่อทวีความเป็น VIP Seat ขึ้นมาอีกขั้น
  2. ปริญญาตรี / ปริญญาโท / ประกาศนียบัตรบัณฑิต / ปริญญาเอก : College / Faculty / Institute
  3. ประวัติและความเป็นมา

ประเทศเวียดนาม ณ นครโฮจิมินห์ 33. ประเทศไทย ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง กรุงเทพฯ 7.

ข้อมูลการรับสมัคร รามคำแหง

สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติส่วนภูมิภาค ในปีการศึกษา 2538 มหาวิทยาลัยรามคำแหงได้ขยายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ส่วนภูมิภาค เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่อยู่ในภูมิภาคและท้องถิ่นต่าง ๆ มีโอกาสได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการดำรงชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมหาวิทยาลัยได้ดำเนินการเปิดสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติในจังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดปราจีนบุรี และต่อมาได้เปิดสาขาวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรติฯ เพิ่มขึ้นอีก จนปัจจุบันมหาวิทยาลัยได้จัดตั้งสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติขึ้นแล้วใน 25 จังหวัดทั่วประเทศ โดยเปิดทำการสอนแล้ว 21 จังหวัด ดังนี้ 1. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดนครศรีธรรมราช 2. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดอุทัยธานี 3. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดปราจีนบุรี 4. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดอำนาจเจริญ 5. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดนครพนม 6. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดแพร่ 7. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดนครราชสีมา 8. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสุโขทัย 9. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดขอนแก่น 10.

ของ-ใน-ครว
Monday, 5 September 2022